หน้าแรก
เกี่ยวกับโครงการ
ความเป็นมา
เป้าหมายและวัตถุประสงค์
คณะกรรมการ
แผนแม่บท
ผลการดำเนินงาน
บุคลากร
กิจกรรม
ฐานข้อมูลทรัพยากร
ฐานข้อมูลทรัพยากรพันธุ์พืช
ฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
ข้อมูลติดต่อ
ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
visitor
ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
เข้าสู่ระบบ
แดชบอร์ดหน้าแรก
หน้าแรก
-
รายละเอียด
พันธุกรรมพืชหายาก มร.ชร.
ประดู่แดง
พันธุกรรมพืช มร.ชร.
ชื่อเต็มวิทยาศาสตร์
ชื่อย่อ
ชื่อพันธุกรรมพืช : ประดู่แดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ :
ชื่อเต็มวิทยาศาสตร์
ชื่อย่อ
ชื่อพื้นเมือง : ประดู่แดง
ชื่อสกุล :
ชื่อวงศ์ : Fabaceae
ลักษณะวิสัย : ไม้ล้มลุก
ชนิดใบ : ใบเดี่ยว
การเรียงตัวของใบ : เรียงสลับ
ลักษณะใบ : เกลี้ยง
ประเภทของดอก : ดอกเดี่ยว
เพศของดอก : สมบูรณ์เพศ
สีของดอก : สีขาว
ลักษณะผล : ผลเมล็ดเดียวแข็ง(drupe)
สีของผล : สีขาว
ลักษณะ
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง กิ่งลู่ลง ใบ ประกอบเป็นรูปขนนกเรียง สลับ ใบย่อย 3-6 คู่ ออกสลับ แผ่นใบย่อย รูปไข่ รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ขนาดประมาณ 2.5x6 เซนติเมตร ปลายมน โคนสอบ ดอก ช่อกระจะ สีแดงคล้ำ ออกเป็นกระจุกสั้น ๆ 3-5 ช่อ หนา แน่นตามกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 0.5-1.4 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปเรือ ยาวไม่เท่ากัน เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบดอก 3 กลีบ รูปเรือ ปลายมน ยาว 0.6-1 เซนติเมตร มีก้านกลีบลดรูป 2 กลีบ ยาว 1-2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนเชื่อมติดกัน ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่มก้านเกสรยาว 1.2-2.5 เซนติเมตร ผล ฝักแบนรูปขอบขนาน ขนาดประมาณ 1-3 x 15-17 เซนติเมตร มี 1-3 เมล็ด เมล็ด รูปไข่ แบนยาวประมาณ 2.5-4 เซนติเมตร ช่วงเวลาออกดอก มกราคม - กุมภาพันธ์ ช่วงเวลาออกผล อ้างอิง ต้นไม้ทรงปลูกในรัชกาลที่ ๙ หน้า 71
การกระจายพันธุ์
ช่วงเวลาการออกดอก
มกราคม - กุมภาพันธ์
ช่วงเวลาการออกผล
การใช้ประโยชน์