หน้าแรก
เกี่ยวกับโครงการ
ความเป็นมา
เป้าหมายและวัตถุประสงค์
คณะกรรมการ
แผนแม่บท
ผลการดำเนินงาน
บุคลากร
กิจกรรม
ฐานข้อมูลทรัพยากร
ฐานข้อมูลทรัพยากรพันธุ์พืช
ฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
ข้อมูลติดต่อ
ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
visitor
ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์
เข้าสู่ระบบ
แดชบอร์ดหน้าแรก
หน้าแรก
-
รายละเอียด
พันธุกรรมพืชหายาก มร.ชร.
ตะขบป่า
พันธุกรรมพืช มร.ชร.
Flacourtia indica
(Burm.f.) Merr.
ชื่อพันธุกรรมพืช : ตะขบป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ :
Flacourtia indica
(Burm.f.) Merr.
ชื่อพื้นเมือง : บะแกว๋น
ชื่อสกุล :
ชื่อวงศ์ : Salicaceae
ลักษณะวิสัย : ไม้ล้มลุก
ชนิดใบ : ใบเดี่ยว
การเรียงตัวของใบ : เรียงสลับ
ลักษณะใบ : เกลี้ยง
ประเภทของดอก : ดอกเดี่ยว
เพศของดอก : สมบูรณ์เพศ
สีของดอก : สีขาว
ลักษณะผล : ผลเมล็ดเดียวแข็ง(drupe)
สีของผล : สีขาว
ลักษณะ
ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-15 เมตร มีหนามยาวตามลำต้นและกิ่งซึ่งหนามเหล่านี้จะร่วงไปเมื่อต้นโตเต็มที่ ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ใบมีรูปร่างหลายแบบ รูปไข่ถึงรูปหอก ขอบใบหยักเหมือนฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบหรือมีขนนุ่มสั้น ปกคลุมบนผิวทั้งสองด้าน ก้านใบสีแดงยาวเรียว มีขนนุ่ม ๆ สั้นปกคลุมดอก ออกเป็นช่อสั้น ๆ มีดอกย่อย 4-6 ดอก มีกลุ่มขนนุ่มสั้น ๆ ปกคลุม ออกดอกบริเวณง่ามใบและบริเวณปลายกิ่ง ยาว 3-10 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่คนละต้น ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 4-7 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยก ผล เป็นผลที่อ่อนนุ่ม ผลสุกมีสีดำ – แดง ลักษณะกลมหรือรูปไข่ ช่วงเวลาออกดอก มีนาคม - เมษายน ช่วงเวลาออกผล อ้างอิง:http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?Botanic_ID=2431
การกระจายพันธุ์
ช่วงเวลาการออกดอก
มีนาคม - เมษายน
ช่วงเวลาการออกผล
การใช้ประโยชน์